เงินดิจิทัลวอลเล็ต 10,000 บาท กับการกระตุ้นเศรษฐกิจไทย

ดร.ยุทธภูมิ ธนากิจบริสุทธิ์

Abstract


ผ่านพ้นไปแล้วกับสถานการณ์โควิดที่หนักหนาสาหัสเป็นอย่างมากกับเศรษฐกิจภายในประเทศที่ได้รับผลกระทบไปทุกหย่อมหญ้า และเมื่อมีรัฐบาลใหม่ขึ้นมาในปี 2567 ได้เสนอนโยบายและโครงการต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและฟื้นฟูประเทศ อาทิเช่น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ การประกันรายได้เกษตรกร การขึ้นค่าแรง 400 บาท และ การแจกเงินดิจิทัลวอลเล็ต 10,000 บาท โดยโครงการนี้เป็นที่พูดกันอย่างกว้างขวางแทบจะทุกวงการ ใครได้ประโยชน์ใครเสียประโยชน์ สร้างกระแสความตื่นตัวในหมู่ประชาชน และ นักวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ  โดยเฉพาะนักเศรษฐศาสตร์ที่มองว่าเป็นมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในยามวิกฤตที่น่าสนใจ แต่ก็ยังมีข้อกังวลบางประการที่ต้องพิจารณาให้รอบคอบ  ฉะนั้นในประเด็นฉบับนี้เรามาทำความรู้จักและพิจารณากับโครงการนี้กันดีกว่าว่า  “เงินดิจิทัลวอลเล็ต 10,000 บาทกระตุ้นเศรษฐกิจไทย...จริงหรือ?” ...

Full Text:

PDF

References


เกียรตินาคินภัทร. (2566). KKP ประเมินเศรษฐกิจไทยยังชะล่าใจไม่ได้ โตได้เพียงชั่วคราวแม้มีการแจกเงินปีหน้า. สืบค้นจาก https://kkpfg.com/th/news/2023112742217

ไทยพีบีเอส. (2567). สืบค้นจาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/339350

ธราธร รัตนนฤมิตศร - วรธรรม แซ่โง้ว. (2564). สถาบันอนาคตไทยศึกษา. ตัวคูณทวีของนโยบายแจกเงินดิจิทัล. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/economic/1090656

ผู้จัดการออนไลน์. (2566). สืบค้นจาก https://mgronline.com/business/detail/9660000081740

ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์. (2566). โครงการแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาท กับความยั่งยืนของการเติบโตเศรษฐกิจไทย. ThaiPublica. สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2023/10/nida-sustainable-move54/

Nuch Tantisantiwong. (2566). สืบค้นจาก https://www.facebook.com/Dr.Nuch/posts/ pfbid02jJmBQwrEZapK9K2 7S6aqomdBYiyvoMTU8bpUBypwaMjAzFLTtRLgiZfmNgE1HSeGl


Refbacks

  • There are currently no refbacks.